บาคาร่าออนไลน์ ธ.ก.ส.เร่งสอบทานผู้ยื่นทบทวนสิทธิ์ มาตรการเราไม่ทิ้งกัน

บาคาร่าออนไลน์ ธ.ก.ส.เร่งสอบทานผู้ยื่นทบทวนสิทธิ์ มาตรการเราไม่ทิ้งกัน

สถานีข่าวกระทรวงการคลัง : Ministry of Finance News Station บาคาร่าออนไลน์ รายงาน ธ.ก.ส. ระดมกำลังพนักงานทั่วประเทศ ออกปฏิบัติหน้าที่ผู้พิทักษ์สิทธิ์ในพื้นที่ไม่เว้นวันหยุดราชการ เพื่อเร่งทบทวนสิทธิ์ให้กับผู้ประกอบอาชีพอิสระที่ได้รับผลกระทบจาก COVID-19 ตามมาตรการเราไม่ทิ้งกัน ของกระทรวงการคลัง โดยกำหนดจุดนัดหมายในพื้นที่เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ลงทะเบียน และง่ายต่อการสอบทาน พร้อมยึดหลักการบริหารจัดการตามหลัก Social Distancing คาดตรวจสอบข้อมูลแล้วเสร็จภายใน 17 พ.ค.นี้

นายกษาปณ์ เงินรวง รองผู้จัดการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) 

เปิดเผย ภายหลังการร่วมลงพื้นที่พร้อมกับพนักงาน ธ.ก.ส. ที่ปฏิบัติหน้าที่ผู้พิทักษ์สิทธิ์ ณ วัดหนองจอก เขตมีนบุรี และสาขาบางเขน ว่า ธ.ก.ส. ให้ความสำคัญกับการขับเคลื่อนนโยบายต่าง ๆ ของรัฐบาล เพื่อช่วยบรรเทาความเดือดร้อนให้กับประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) อย่างเต็มที่ ซึ่งในส่วนของภารกิจผู้พิทักษ์ที่ ธ.ก.ส.ได้รับมอบหมายจากกระทรวงการคลัง ให้ดำเนินการตรวจสอบข้อมูลของผู้ยื่นทบทวนสิทธิ์ตามมาตรการเราไม่ทิ้งกัน เพื่อขอรับเงินเยียวยา 5,000 บาท เป็นระยะเวลา 3 เดือน โดยการไปพบตัวผู้ลงทะเบียนเพื่อถ่ายรูปบุคคล หลักฐานการประกอบอาชีพ และบัตรประชาชน ผ่าน APP ผู้พิทักษ์ เพื่อเป็นหลักฐานในการพิจารณาช่วยเหลือต่อไป

ทั้งนี้ ธ.ก.ส. ได้รับยอดให้สอบทานสิทธิ์ 2 ครั้ง รวมจำนวน 54,819 ราย และได้ดำเนินการยืนยันตัวตนผู้ขอทบทวนไปแล้วกว่า 83% และล่าสุดได้รับตัวเลขเพื่อร่วมตรวจสอบสิทธิ์เพิ่มอีก 36,841 ราย รวมจำนวน 91,660 ราย ซึ่ง ธ.ก.ส.จะเร่งตรวจสอบข้อมูลทั้งหมด โดยมอบหมายให้พนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่ผู้พิทักษ์สิทธิ์ทั่วประเทศกว่า 8,000 ราย ออกไปตรวจสอบข้อมูลถึงในพื้นที่ โดยไม่เว้นวันหยุดราชการ พร้อมกำหนดจุดนัดหมายที่สามารถอำนวยความสะดวกทั้งผู้ขอทบทวนสิทธิ์ และการสอบทานของเจ้าหน้าที่ ควบคู่การยึดหลักการบริหารจัดการตามมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) โดยคาดหมายว่าจะดำเนินการสอบทานสิทธิ์ดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายใน 17 พฤษภาคม 2563 หรือเร็วที่สุดตามที่สำนักงานเศรษฐกิจการคลังกำหนด นายกษาปณ์กล่าว

พบเห็นแจ้งด่วน ! พี่เตี้ย มช. หมาชื่อดังจาก ประเพณีรับน้องขึ้นดอย หายตัวไปไร้ร่องรอย ทำเอาแฟนคลับเป็นห่วงอย่างมากเลยทีเดียว สำหรับ พี่เตี้ย มช. สุนัขชื่อดังแห่ง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่เป็นที่รู้จักกันอย่างดี จากประเพณีรับน้องขึ้นดอย ซึ่งได้หายตัวไปอย่างไร้ร่องเมื่อวันก่อน

โดยทางด้านเพจ เตี้ย มช. ได้เริ่มมีการโพสต์ประกาศว่า พี่เตี้ย ได้หากไปจากจุดที่เคยเจอเป็นประจำเมื่อวันที่ 5 พ.ค. ช่วงเวลาประมาณ 17.00 น. และได้มีกาารออกตามหาแล้ว แต่ก็ยังไม่พบ จึงได้ประกาศลงเพจไว้พร้อมกับเบอร์โทรศัพท์

ต่อเวลาในวันเดียวกัน ช่วงเวลาประมาณ 21.00 น. หลังจากที่ทางเพจพยายามออกค้นหาร่องรอย แต่ก็ยังไม่พบ แม้จะได้มีการประสานกับเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย เพื่อทำการดูกล้องวงจรปิด แต่ก็ยังไม่สามารถให้ดูได้ เนื่องจากเป็นวันหยุด จึงได้มีการไปแจ้งความลงบันทึกประจำวันไว้แล้ว

ส่วนสถานการณ์ล่าสุด จากการอัพเดทของเพจ เตี้ย มช เมื่อเวลา 08.00 น. ก็ได้มีการออกมาโพสต์อีกครั้งว่า ยังไม่มีการพบตัว พี่เตี้ย แต่อย่างใด และได้มีการตั้งประเด็นว่า อาจมีนักศึกษาบางส่วนไม่ชอบ พี่เตี้ย จนถึงขั้นลักพาตัวหายไปด้วยเลยทีเดียว

อย่างไรก็ตาม หากมีผู้ที่พบเห็น สามารถโทรไปแจ้ 086-9212936 เพื่อทำการติดต่อและนำ พี่เตี้ย กลับถิ่น มช. อีกครั้ง หรือสามารถติดต่อไปที่เพจ เตี้ย มช

วันวิสาขบูชา ! การคลัง แจ้งวันนี้งดรับเรื่องร้องเรียน 5,000 บาท “เราไม่ทิ้งกัน”

การคลัง ได้ออกมาประกาศว่า สำหรับวันนี้ที่ 6 พ.ค. ที่ตรงกับ วันวิสาขบูชา จะไม่มีการเปิดโต๊ะรับเรื่องร้องเรียนเงินเยียวยา 5,000 บาท “เราไม่ทิ้งกัน” ซึ่งถือว่าเป็นวันหยุดราชการ ดังนั้นจึงไม่ต้องเดินทางมายัง กรมประชาสัมพันธ์

จากกรณี รัฐบาลเปิดมาตรการเยียวยาลูกจ้างชั่วคราว อาชีพอิสระ นอกระบบประกันสังคม ที่ได้รับผลกระทบจากเชื้อไวรัส “โควิด-19” (COVID-19) จะได้รับเงินสนับสนุนรายละ 5,000 บาทต่อเดือน โดยต้องลงทะเบียนผ่านเว็บไซต์ www.เราไม่ทิ้งกัน.com เท่านั้น

ทางด้าน นายธนกร วังบุญคงชนะ เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กล่าวว่า กระทรวงการคลังจะทยอยโอนเงินให้คนที่ได้รับสิทธิ์วันละ 1 ล้านราย แต่สำหรับในวันที่ 8 พ.ค.63 นี้ คาดว่าจะโอนเงินให้ประชาชนที่ผ่านเกณฑ์ได้รับเงินทั้ง 11 ล้านคน จากผู้เข้าข่ายมีสิทธิ์รับเงิน 16 ล้านคน ส่วนจะขยายระยะเวลารับเรื่องร้องเรียนหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของ รมว.คลัง

จึงอยากจะเรียนประชาชนว่า ไม่จำเป็นต้องเดินทางมายัง กรมประชาสัมพันธ์ เพราะต่อให้มาร้องเรียนและมีเจ้าหน้าที่รับเรื่อง ก็มิใช่ว่าจะได้รับเงินเลยในทันที เมื่อรับเรื่องแล้ว ก็ต้องมีการประสานงานไปยังแต่ละฝ่าย เพื่อให้มีการพิจารณาและแก้ไขปัญหาก่อนต่อไป

เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) เป็นผู้ดูแล เป็นต้น ส่วนในกลุ่มที่ตกหล่น กลุ่มชายขอบ เข้าไม่ถึงอินเทอร์เน็ต นายประสงค์ พูนธเนศ ปลัดกระทรวงการคลัง ได้มอบหมายให้กระทรวง พม. พิจารณามาตรการช่วยเหลือเยียวยาแล้วเช่นกัน บาคาร่าออนไลน์